กระแสลุงมาแรง ! แนะนำ 10 ซีรีส์และหนังที่ตัวเอกเป็นลุง

Papa To Musume No Nanokakan แสดงนำ : Hiroshi Tachi , Aragaki Yuiคุณพ่อสลับร่างกับลูกสาว เป็นเวลา 7 วัน ทำให้ทั้งคู่ได้เรียนรู้บทบาทหน้าที่ และปัญหาของอีกฝ่าย และเกิดความเข้าใจกันในที่สุด Kekkon Dekinai…

13 การ์ตูนที่ “โอกุริ ชุน” แสดง ไม่ว่าเป็นบทแบบไหนเฮียจัดให้ !

โอกุริ ชุน พระเอกตลอดกาล ผู้ที่ได้ชื่อว่าไม่ว่าบทแบบไหนคุณผู้กำกับก็สบายใจได้ เพราะเขาสามารถเล่นให้ได้ทุกบท และแสดงได้ดีทุกบทเลยด้วย มาดูกันว่า ตั้งแต่เด็กจนปัจจุบันเขาเล่นละครและหนังที่มาจากการ์ตูนเรื่องอะไรมาบ้าง Noboru Yoshikawa – GTO Haruhiko Uchiyama – Gokusen Rui Hanazawa – Hana…

[อันดับ] ผลงาน 10 อันดับของทาคุยะ คิมูระ ที่คนญี่ปุ่นชื่นชอบ

1.HERO -อัยการที่มีความเป็นตัวของตัวเองสูง ชอบไปลงพื้นที่สืบคดีเอง และแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่าย 2.Long Vacation – นางแบบตกอับที่โดนผู้ชายทิ้งในงานแต่งงาน ซึ่งผู้ชายคนนั้นคือรูมเมทของเซนะ (ทาคุยะ) จับพลัดจับผลูทำให้ทั้งสองรู้จักกันและรักกัน 3. Pride – นักฮอกกี้น้ำแข็งที่เก่ง แต่นิสัยไม่ค่อยดี 4.GOOD LUCK!! – นักบินฝึกหัด…

เกร็ดความรู้จากละคร WataDou ตอนที่ 6

ดอกไม้ญี่ปุ่น ซากุระเดือน 10 (Jyugatsuzakura) เป็นหนึ่งในซากุระตระกูลฤดูหนาว ปีหนึ่งจะบาน 2 ครั้ง คือช่วงฤดูใบไม้ผลิ และ ใบไม้ร่วง ดังนั้นจึงมีบางสถานที่ที่สามารถชมซากุระและใบไม้เปลี่ยนสีไปพร้อมกันได้ อย่างที่ เมือง Obara จังหวัด Aichi  ขนมญี่ปุ่น (วากาชิ) “ยูกาโอะ”…

เกร็ดความรู้จากละคร WataDou ตอนที่ 5

ขนมญี่ปุ่น (วากาชิ) ขนมที่นาโอะและสึบากิทำมาให้ยูโกะ เพื่อไปเชิญให้ร่วมงานแต่ง แต่ยูโกะซึ่งไม่ใช่แม่ที่แท้จริงของนาโอะ ปฏิเสธที่จะไป เธอบอกว่าเธอเป็นคนที่ไม่จำเป็นสำหรับพิธีเช่นเดียวกับใบของ “คุซึซากุระ” ทำให้สึบากิพูดความในใจของเขาเมื่อตอนที่เจอนาโอะครั้งแรก ขนมรูปบ๊วยสีเขียว ขนมที่ออกแบบโดยสึบากิ สำหรับใช้ในงานแต่งของทั้งคู่ ขนมทานตะวัน ขนมโฮตารุ (หิ่งห้อย) ที่นาโอะออกแบบและทำขึ้นจากความทรงจำอันสวยงามของเธอและสึบากิ เมื่อเอาไปให้นายใหญ่ทาน เขาก็รู้สึกคุ้นเคยกับรสชาติที่เคยทานในอดีต เพลงพื้นบ้านของญี่ปุ่น เพลง…

เกร็ดความรู้จากละคร WataDou ตอนที่ 4

ประโยคที่มีความหมายแฝง お茶をお取り換えしましょうか “ให้ฉันเปลี่ยนชาให้มั้ยคะ” ความหมายจริงๆคือ “อยากให้กลับไปได้แล้ว” ในบางจังหวัดของญี่ปุ่น เช่น เกียวโต อิชิกาวะ (ย่านเมืองเก่า) หากพูดประโยคปกติธรรมดา อาจจะกลายเป็นการเสียมารยาทต่อแขกไปได้ เพราะโดยพื้นฐานแล้วคนญี่ปุ่นมักจะพูดอ้อมค้อม พูดแล้วต้องตีความหลายครั้งว่าจุดประสงค์แท้จริงคืออะไร นอกจากนี้ยังมีประโยคอื่นๆอีก เช่น-ลูกเล่นเปียโนเก่งจังนะคะ = หนวกหู!-ถึงจะเป็นหน้าร้อน แต่ที่นี่ก็ไม่ต้องเปิดแอร์เลยนะคะ =…

แนะนำ 7 หนังญี่ปุ่นพระรองงานดี ที่นางเอกไม่เอาเราเอาเอง

Heroine Shikkaku เรื่องราวเกี่ยวกับ มัตสึซากิ  ฮาโตริ สาวม.ปลาย (คิริทานิ มิเรย์) ที่หลงรักเพื่อนวัยเด็กสุดหล่อ(ยามาซากิ เคนโตะ) จนวันนึงเพื่อนสนิทกลับไปคบคนอื่นก็เลยอกหัก แล้วก็มีนักเรียนใหม่หนุ่มหล่อ (ซากากุจิ เคนทาโร่ ) มาดามใจ แต่นางเอกของเราก็ยังคงชอบพระเอกอยู่ดีนั่นแหละ บทพระรองเลยตกไปเป็นของ ซากากุจิ เคนทาโร่…

เกร็ดความรู้จากละคร WataDou ตอนที่ 3

ข้อความบนป้ายอักษร ป้ายอักษร ภาษาญี่ปุ่นคือ 掛け軸 (かけじく) อ่านว่า Kakejiku รู้หรือไม่ว่า ทำไมต้องมีป้ายอักษรนี้ด้วย?ในห้องชงชาไม่เพียงแต่เป็นสถานที่สำหรับดื่มชาและขนมหวานเท่านั้น แต่ยังสามารถเพลิดเพลินกับเครื่องชงชา และบรรยากาศของสถานที่ได้อีกด้วย ศูนย์กลางของพิธีชงชา คือป้ายอักษรนี้นั่นเอง รูปแบบและคำที่เขียนบนป้ายอักษรจะขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของงานเลี้ยงน้ำชา และผู้ที่เข้าร่วมในงานเลี้ยงน้ำชาจะได้เห็นและเพลิดเพลินระหว่างดื่มชา ถือว่าป้ายอักษรนี้เป็นหนึ่งในอุปกรณ์ชงชาเลยทีเดียว*บางครั้งอาจจะเป็นเพียงตัวอักษร หรือภาพวาดพร้อมตัวอักษร หรือภาพวาดอย่างเดียว 不妄語戒 (ふもうごかい…